ฤทธิ์ต้านเชื้อ สแตฟิลโลคอคคัส ออเรียส จากสมุนไพร

ANTI-STAPHYLOCOCCUS AUREUS ACTIVITY OF 

THAI MEDICINAL PLANTS

 

นาย ศราวุฒิ ตันติชัยวนิช

นางสาว ศันสนีย บานใหม

โครงการพิเศษนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ปริญญาเภสัชศาสตรบัณฑิต

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

พ.ศ. 2547

บทคัดยอ

ฤทธิ์ตานเชื้อสแตฟโลคอคคัส ออเรียส ของสมุนไพรไทย

คําสําคัญ: ฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย. สแตฟโลคอคคัส ออเรียส, สมุนไพร

 

เชื้อสแตฟโลคอคคัส ออเรียสที่ดื้อตอเมทิซิลลิน (MRSA) เปนเชื้อที่กอใหเกิดโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลมากเชื้อหนึ่งในเกือบทุกประเทศทั่วโลกซึ่งสามารถกอใหเกิดอันตรายถึงชีวิตไดจุดประสงคของการศึกษานี้เพื่อศึกษาฤทธิ์ตานเชื้อ MRSA ของสมุนไพร โดยทําการทดสอบสารสกัดหยาบของสมุนไพรดวยวิธี disc diffusion และ broth dilution ผลการทดสอบดวยวิธี disc diffusion ปรากฏวา สมุนไพรจํานวน 8 ชนิดจากทั้งหมด 17 ชนิดมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อ  MRSA โดยที่สารสกัดมังคุดมีประสิทธิภาพดีกวาสมุนไพรอื่นๆ ซึ่งในการทดสอบดวยวิธี Broth dilution ก็ใหผลในลักษณะเดียวกัน โดยสารสกัดมังคุดมีฤทธิ์ตานแบคทีเรียดีที่สุด โดย

มี MIC 9.5 µg/ml และ MBC 39 µg/ml นอกจากนี้สารสกัดสาบเสือก็เปนสมุนไพรอีกชนิดที่มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ MRSAไดรองจากสารสกัดมังคุดโดยมี MIC 1.25 mg/ml และ MBC 5 mg/ml ในการศึกษานี้ได ทําการทดสอบสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อ MRSA ไดดีมาผสมกันเพื่อตรวจสอบการเสริม ฤทธิ์กันของสมุนไพร ซึ่งผลการทดสอบไดผลดังนี้ คือ สารสกัดผสมระหวางสารสกัดมังคุดกับสาร สกัดสาบเสือในอัตราสวน 100:0 และ 90:10 มีคา MIC 9.5 µg/ml และ MBC 39 µg/ml ในขณะที่สารสกัดผสมระหวางสารสกัดมังคุดกับสารสกัดสาบเสือซึ่งเปนสมุนไพรที่อยูในความสนใจโดยทั่วไป ในอัตราสวน 100:0 จนถึง 40:60 มีคา MIC 39 µg/ml ซึ่งคา MIC จะเพิ่มขึ้นเมื่อลดความเขมขนของสารสกัดมังคุดจึงไมพบวามีการเสริมฤทธิ์กันของสมุนไพรที่นํามาทดสอบ ดังนั้นสารสกัดมังคุดขนิดเดียวนาจะเปนทางเลือกใหมสําหรับการรักษาโรคติดเชื้อที่เกิดจาก MRSA ไดหากมีการนําไปพัฒนาตอไป

 

Abstact

Anti-Staphylococcus aureus activity of Thai medicinal plants

Methicillin-resistant Staphylococcus aureus (MRSA) is a major nosocomial

pathogen that causes severe morbidity and mortality worldwide. The aim of this study is to determine antibacterial activities of medicinal plants against MRSA. In the present work, crude extracts of medicinal plants were tested for antibacterial effects by disc diffusion and broth dilution method. The results of disc diffusion method showed that 8 of 17 medicinal plants could inhibit the growth of MRSA. Garcinia mangostana L. had the strongest antibacterial effect, the remaining plants had less inhibitory effects. The results were confirmed by broth dilution method that the result showed crude extracts from 8 medicinal plants had antibacterial effects. Garcinia mangostana L. had the best antibacterial effect against MRSA at MIC of 9.5 µg/ml and MBC of 39 µg/ml. In addition, Eupatorium odoratum L.also had some antibacterial effects with the MIC of 1.25 mg/ml and MBC of 5 mg/ml. In this study, medicinal plants that showed promising results were combined and determined the synergistic effect. The results showed that at the ratio of 100:0 and 90:10 of Garcinia mangostana L. and Eupatorium odoratum L.had MIC of 9.5 µg/ml and MBC of 39 µg/ml. The combination of Garcinia mangostana L. and Andrographis paniculata (Burm. F.) Nees a highly distributed plant in the herbal markets had the MIC of 39 µg/ml from the ratio of 100:0 to 40:60, respectively. The MIC was increased depending upon the reduced concentration of Garcinia mangostana L.. In

conclusion, Garcinia mangostana L. alone may be an alternative treatment of MRSA infection that is needed for further characterization.